ประเทศไทยต้องเผชิญผลกระทบสิ่งแวดล้อมมากมาย อันมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งประเด็นปัญหาในปี 2567ภาครัฐและองค์กรที่เกี่ยวข้องด้านสิ่งแวดล้อมได้ออกมาระดมความเห็นและออกนโยบายต่าง ๆ เพื่อเร่งดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) ในฐานะองค์กรพัฒนาเอกชนที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนงานด้านสิ่งแวดล้อม ได้ถอดบทเรียนสรุปสถานการณ์เด่นสิ่งแวดล้อมไทยและสิ่งแวดล้อมโลก
สรุปสถานการณ์เด่นสิ่งแวดล้อมไทยและสิ่งแวดล้อมโลก ได้ดังนี้
สิ่งแวดล้อมไทย
สิ่งแวดล้อมโลก
ด้วยสถานการณ์ดังกล่าว ภาครัฐและหน่วยงานทีเกี่ยวข้องต้องหันมาให้ความสำคัญและตระถึงประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อสร้างทางรอดที่ยั่งยืนให้กับสังคมในอนาคต
อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง
– ปัญหาฝุ่น..แก้ไม่ได้..ถ้ามองไม่เห็น: เมื่อระบบสุขภาพเป็นแค่ปลายน้ำของปัญหา
– คุณภาพระบบนิเวศทะเลไทยอาจวิกฤติ หาก “ปัญหาขยะพลาสติกในทะเล” ยังไม่ถูกจัดการอย่างยั่งยืน
– มรสุม 2567: เมื่อเส้นชีวิตกลายเป็นภัยพิบัติ สำรวจสถานการณ์น้ำท่วมเเละการตั้งรับปรับตัวของไทย
– ไทยเผชิญปรากฏการณ์ ‘ปะการังฟอกขาว’ ครั้งใหญ่ พบปะการังตายกว่า 40% เหตุโลกร้อน-น้ำทะเลเดือด
– สัตว์-พืช กว่าล้านสายพันธุ์เสี่ยงสูญพันธุ์เร็วขึ้น ผลจาก climate change เเละมลพิษ กระทบระบบนิเวศทั่วโลก
– COP 27 ย้ำการปกป้อง ‘ความหลากหลายทางชีวภาพ’ เชื่อมโยงกับ ‘การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ’ เป็นเรื่องที่ไม่อาจแยกออกจากกัน
ประเด็นดังกล่าวเกี่ยวข้องกับ
#SDG3 สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
– (3.9) ลดจำนวนการตายและการเจ็บป่วยจากสารเคมีอันตรายและจากมลพิษและการปนเปื้อนทางอากาศ น้ำ และดิน ให้ลดลงอย่างมาก ภายในปี พ.ศ. 2573
#SDG11 เมืองและชุมชนที่ยั่งยืน
– (11.5) ลดจำนวนการตายและจำนวนคนที่ได้รับผลกระทบและลดการสูญเสียโดยตรงทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของโลกที่เกิดจากภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงภัยพิบัติที่เกี่ยวกับน้ำ โดยมุ่งเป้าปกป้องคนจนและคนที่อยู่ในสถานการณ์ที่เปราะบาง ภายในปี 2573
#SDG13 การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
– (13.1) เสริมภูมิต้านทานและขีดความสามารถในการปรับตัวต่ออันตรายและภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศในทุกประเทศ
– (13.2) บูรณาการมาตรการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในนโยบาย ยุทธศาสตร์และการวางแผน ระดับชาติ
– (13.3) พัฒนาการศึกษา การสร้างความตระหนักรู้ และขีดความสามารถของมนุษย์และของสถาบันในเรื่องการลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การปรับตัว การลดผลกระทบ การเตือนภัยล่วงหน้า
#SDG14 นิเวศทางทะเลและมหาสมุทร
– (14.1) ป้องกันและลดมลพิษทางทะเลทุกประเภทอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะจากกิจกรรมบนแผ่นดิน รวมถึงขยะทะเลและมลพิษจากธาตุอาหาร (nutrient pollution) ภายในปี 2568
– (14.2) บริหารจัดการและปกป้องระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืนเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบทางลบที่มีนัยสำคัญ รวมถึงโดยการเสริมภูมิต้านทานและปฏิบัติการเพื่อฟื้นฟู เพื่อบรรลุการมีมหาสมุทรที่มีสุขภาพดีและมีผลิตภาพ ภายในปี 2563
#SDG15 ระบบนิเวศบนบก
– (15.5) ปฏิบัติการที่จำเป็นและเร่งด่วนเพื่อลดการเสื่อมโทรมของถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ หยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และภายในปี พ.ศ. 2563 ปกป้องและป้องกันการสูญพันธุ์ของชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม
ที่มา : https://www.sdgmove.com/2025/01/03/summary-of-the-environmental-situation-2024/